ปฏิญญาเวียนนา
การนามาตรฐานทางจริยธรรมสากลมาปฏิบัติในโลกที่แตกแยกและแสนอนัตราย
วนั ที่ 26-27 มีนาคม ปี 2014
กรุงเวยี นนา ประเทศออสเตรีย


ปี 1987 สภาปฏิสมั พนั ธ์ซ่ึงเพิ่งก่อต้งั ข้ึนเมื่อไม่นาน ไดจ้ ดั งาน ศาสนเสวนา คร้ังแรกในกรุงโรม และการจดั ศาสนเสวนาคร้ังต่อมา มีจุดสนใจอยู่ที่กรอบความคิดใหม่เร่ืองหลักจริยธรรมสากลเป็นสาคญั ซ่ึงเป็น แถลงการณ์หลกั ศีลธรรมที่ศาสนาสาคญั ทุกศาสนายดึ ถือร่วมกนั การอภิปรายหลกั การทางจริยธรรมที่ยึดถือ ร่วมกนั เพ่ือการส่งเสริมให้เกิดสันติภาพ ขนั ติธรรม สังคมท่ีมีความเห็นอกเห็นใจกนั และความร่วมมือ ระหวา่ งชาติต่างๆ ส่งผลใหม้ ีการออกปฏิญญาสากลวา่ ดว้ ยความรับผดิ ชอบของมนุษยชน ในการประชุมสภา เมื่อปี 1997 สาระสาคัญของปฏิญญาคือการยอมรับกฎทองคา “จงอย่าปฏิบัติต่อผู้อื่นในสิ่งที่ท่านไม่ ปรารถนาจะให้ผ้อูื่นปฏิบัติต่อท่าน”และหลกัการมนุษยธรรม
ฯพณฯ ดร. ฟรานซ์ วรานิทสก้ี ประธานการจดั งาน และ ท่านมลั คอล์ม เฟรเซอร์ ผูท้ รงเกียรติ ประธานร่วมของการประชุม และ ฯพณฯ ยาสุโอะ ฟูกุดะ ไดจ้ ดั งาน ศาสนเสวนา ของสภาปฏิสัมพนั ธ์อีก คร้ังในเดือนมีนาคม ปี 2014 ที่กรุงเวียนนา เพื่อศึกษาความทา้ ทายของการทาให้มาตรฐานทางจริยธรรม สากล สมั ฤทธ์ิผลในโลกที่แตกแยกและแสนอนั ตรายใหไ้ ด้
1. แมจ้ ะมีการระบุและเขา้ ใจถึงหลกั จริยธรรมสากลอย่างชดั เจนแลว้ แต่ความสัมพนั ธ์ที่แตกต่างระหว่าง รัฐบาลและศาสนา ตลอดจนภมู ิหลงั ทางวฒั นธรรมและศาสนาที่หลากหลาย ทาให้เกิดปัญหาในการนาหลกั จริยธรรมสากลมาปฏิบตั ิ
2.ในส่วนของรัฐบาลน้นั มีความตึงเครียดเกิดข้ึนระหวา่งผลประโยชน์ของชาติผลประโยชน์ส่วนตนและ ขอ้ กงั วลทางจริยธรรม ทาให้มีความตอ้ งการที่จะตดั สินใจแบบง่ายเขา้ ไวโ้ ดยหวงั ผลในระยะส้ัน และโยน ขอ้ พจิ ารณาทางจริยธรรมทิง้ ไปก่อน
3.แนวปฏิบตั ิของหลกั จริยธรรมสากลและการนามาปฏิบตั ิเป็นเร่ืองยุง่ ยากเพราะสถานการณ์แต่ละอยา่ งมี ความแตกต่างและอยภู่ ายใตบ้ ริบทที่มีลกั ษณะเฉพาะ
4. ต่อให้มีการนาหลกั จริยธรรมสากลมาบญั ญตั ิเป็นกฎหมาย แต่ประสิทธิผลของหลกั การดงั กล่าวไดร้ ับ ผลกระทบจากความไม่เตม็ใจที่จะปฏิบตัิตามหรือบงัคบัใชก้ฎหมาย
5. การใชค้ วามรุนแรงทางโลก ภายในศาสนาหน่ึง และระหว่างศาสนาต่างๆ ตลอดจนการกาเนิดของพวก ลทั ธิสุดโต่งภายในศาสนาและวฒั นธรรมของโลกท้งั หลาย คือความทา้ ทายสาหรับผนู้ าและต่อการนาหลกั จริยธรรมสากลมาปฏิบตั ิ
6. การค้าจุนและส่งเสริมการนาหลกั จริยธรรมสากลมาประยกุ ตเ์ ป็นภารกิจท่ีไม่มีวนั จบสิ้น เพราะผนู้ าตอ้ ง เ ผ ช ิ ญ ก บั ค ว า ม ร ู ้ ส ึ ก ว า่ อ ย า ก จ ะ ย อ ม ส ล ะ พ นั ธ ะ ส ั ญ ญ า ท ่ ี ม ี ต ่ อ ห ล กั จ ร ิ ย ธ ร ร ม ส า ก ล เ พ ื ่ อ แ ล ก ก บั เ ป ้ า ห ม า ย ท ่ ี ใ ห ผ้ ล ประโยชน์ในระยะส้ันมากกวา่ อยเู่สมอเช่นความกา้ วหนา้ ท่ีเกิดข้ึนในช่วงหลายปีท่ีผา่ นมาอาจถูกยกเลิกได้ อยา่ งง่ายดาย ถา้ เพยี งแต่เรายอมพา่ ยแพต้ ่อหลกั การสุดโต่งหรือผลประโยชน์ระยะส้ัน
7. แก่นสารของการส่งเสริมหลกั จริยธรรมสากล คือการให้ความเคารพ ขนั ติธรรม และความเห็นอกเห็นใจ แก่ทุกคน มนุษยท์ ุกคนควรไดร้ ับการปฏิบตั ิโดยทดั เทียมกนั
8. ความคืบหนา้ สู่หลกั จริยธรรมสากลมีความยงุ่ ยากมากข้ึนจากการเติบโตของประชากรอยา่ งรวดเร็ว ฯพณฯ นายกรัฐมนตรีเฮลมุทชมิดท์ไดย้ ้าว่าการบรรลุซ่ึงเป้าหมายทางจริยธรรมในโลกที่มีประชากรอาศยั อยู่7.2 พนั ลา้ นคน และกาลงั จะขยายตวั เป็นกวา่ 9 พนั ลา้ นคนในเวลาไม่นาน เป็นสิ่งที่ทาไดย้ ากข้ึน

การปรึกษาหารือที่กรุงเวยี นนาเนน้ ใหเ้ห็นถึงมาตรการทางปฏิบตั ิที่สาคญั ต่อการส่งเสริมใหเ้กิดการยอมรับ ห ล กั จ ร ิ ย ธ ร ร ม ส า ก ล ใ น ฐ า น ะ ท ่ ี เ ป ็ น เ ค ร ่ ื อ ง ม ื อ ส ่ ู ส ั น ต ิ ภ า พ แ ล ะ ค ว า ม ย ตุ ิ ธ ร ร ม อ ย า่ ง ก ว า้ ง ข ว า ง ย งิ ่ ข ้ ึ น
ดงั น้นั เราจึงเร่งรัดใหม้ ีการ

  • ● ส่งเสริมกรอบความคิดเรื่อง หลกั จริยธรรมสากล และ การยอมรับความรับผิดชอบและขอ้ ผกู พนั ที่ จาเป็นตอ้ งมีอยา่ งต่อเนื่อง

  •  การใชค้ วามรุนแรงไม่ใช่วธิ ีแกไ้ ขขอ้ ขดั แยง้

  •   ความพยายามท่ีจะทาความเขา้ ใจทศั นะของผอู้ ่ืน เพราะความเขา้ ใจน้ีเป็นสิ่งจาเป็นต่อการเอาชนะขอ้ ขดั แยง้ ต่างๆ

  •   การสร้างพนั ธะสญั ญาข้ึนใหม่ในส่วนของผนู้ ารัฐบาลต่อการนาเอาหลกั จริยธรรมสากลมาเป็นส่วน หน่ึงในแนวทางสู่สันติภาพและเพื่อส่งเสริมความร่วมมือจากวฒั นธรรมและศาสนาที่มีความ หลากหลาย

  •   การปฏิเสธลทั ธิสุดโต่ง และ การเมืองท่ีเป็นการแบ่งแยกและการไม่ยอมรับโดยรัฐบาลต่างๆ ความพยายามเพอ่ืเป็นการตอบโตต้่อหลกัฐานท่ีแสดงถึงความสุดโต่งในบางภูมิภาคและบางรัฐ

  •   การยอมรับว่าการส่งเสริมมาตรฐานทางจริยธรรมสากล มีความยุ่งยากมากข้ึนในชุมชนโลก

    สมยั ใหม่ท่ีโยงใยถึงกนั

  •   มีการใช้ความพยายามเพื่อทาให้ประชาชนทุกคนไดร้ ับการศึกษา โดยเฉพาะอย่างยิ่งคนหนุ่มสาว

    เกี่ยวกบั ศาสนาสาคญั และมาตรฐานทางจริยธรรมร่วมกนั ที่ศาสนาเหล่าน้นั ยดึ เหนี่ยว

  •   ในการวางแผนเรื่องนโยบายน้นั ให้คานึงถึงเสมอว่าโลกกาลงั จะมีประชากร 9 พนั ลา้ นคนในวนั

    ขา้งหนา้ซ่ึงจะตอ้งมีผลเสียต่อชีวติของมนุษย์สิ่งแวดลอ้มและทรัพยากรธรรมชาติอยา่งแน่นอน

  •   การจดั ศาสนเสวนา ระหวา่ งผนู้ าการเมืองและผนู้ าศาสนาอยา่ งต่อเนื่อง

     

รายนามผ้เูข้าร่วมการประชุม
ประธานการจดังาน:ฯพณฯดร.ฟรานซ์วรานิทสก้ี
ประธานร่วม ศาสนเสวนา:
ท่านมลั คอลม์ เฟรเซอร์ ผทู้ รงเกียรติ, ฯพณฯ ยาสุโอะ ฟูกุดะ


สมาชิกสภาปฏิสัมพนัธ์
ท่านฌอง เครเตียง
  ประธานร่วม อดีตนายกรัฐมนตรี แคนาดา
ฯพณฯ ดร. ฟรานซ์ วรานิทสก้ี
  ประธานร่วม อดีตนายกรัฐมนตรีออสเตรเลีย
ฯพณฯ เฮลมุท ชมิดท์
  ประธานกิตติมศกั ด์ิ อดีตนายกรัฐมนตรีเยอรมนี
ฯพณฯ ยาสุโอะ ฟูกุดะ
  อดีตนายกรัฐมนตรีญี่ป่ ุน
ฯพณฯแอนเดรอสั ฟานแอกต์
  อดีตนายกรัฐมนตรีเนเธอร์แลนด์
ฯพณฯ ชีค อบั ดุลลาซิซ อลั -กุรายชิ
  อดีตผวู้ า่ การธนาคารกลางแห่งซาอุดิอาระเบีย
ฯพณฯตนอบัดุลเลาะห์ฮาจิอะห์มดั บาดาวี
  อดีตนายกรัฐมนตรีมาเลเซีย
ฯพณฯ ดร. อบั เดล ซาลาม มาจาลี
  อดีตนายกรัฐมนตรีจอร์แดน
ฯพณฯ โอลูเซกุน โอบาซานโจ
  อดีตประธานาธิบดีไนจีเรีย
ฯพณฯ ดร. จอร์จ วาสซิลิอู
  อดีตประธานาธิบดีไซปรัส
อดีตสมาชิกสภาปฏิสัมพนัธ์
ฯพณฯ วาเลรี จิสการ์ด เดสแตง
  อดีตประธานาธิบดีฝรั่งเศส
เลขาธิการใหญ่
  ดร.โทมสั เอสแอกซ์เวริ์ทธี แคนาดา
นายอิซามุ มิยาซากิ
  อดีตเลขาธิการใหญ่ ประเทศญี่ป่ ุน
ผ้นู าศาสนาและผ้นู าเทววทิ ยา
ดร.ฮมัซาห์ห์โมฮมัเหมด็อลัซาเลม
  ศาสตราจารย,์ มหาวทิ ยาลยั ปรินซ์สุลต่าน, คอลมั นิสต,์ สานกั ข่าวอลั จาซีรา, ซาอุดิอาระเบีย
ศาสตาจารย์ชิน-คงั ชาง
  ศาสตราจารยเ์ กียรติคุณ และประธาน เย-่ หลู, ศาสตราจารยด์ า้ นสังคมศาสตร์แห่งมหาวิทยาลยั ปักกิ่ง , อดีต อธิการบดีมหาวทิ ยาลยั ซิต้ีแห่งฮ่องกง เขตปกครองพิเศษฮ่องกง ประเทศจีน
ศาสตราจารย์ดร.ฟรีดริชวลิ เฮลม์ กราฟ
  ศาสตราจารยด์ า้ นเทววิทยาระบบและจริยศาสตร์ คณะเทววิทยาโปรเตสแตนต์ มหาวิทยาลยั ลุดวิก- แมกซิมิเลียน เมืองมิวนิค ประเทศเยอรมนี
ดร.มูฮมัหมดั ฮาบาช
  ศาสตราจารย,์ อิสลามศึกษา, มหาวทิ ยาลยั อาบูดาบี, อิสลามนิกายซุนนี, ซีเรีย
ศาสตราจารย์ เคิร์ก แฮนสัน
  ผอู้ านวยการบริหาร ศูนยม์ าร์กกูลาเพื่อการศึกษาจริยศาสตร์ประยุกต์ มหาวิทยาลยั ซานตา คลารา สหรัฐอเมริกา
นายโกลามาลี โคชรู
  ที่ปรึกษาพิเศษประธานาธิบดีคาตามิดา้น“การเสวนาระหวา่งอารยธรรม”ประเทศอิหร่าน
ดร. มโน เมตตานนั โท เลาหวณิช
  ผู้บรรยาย, วิทยาลัยแพทย์ศาสตร์นานาชาติจุฬาภรณ์, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, สมาชิก คณะอนุกรรมการ ศาสนาและจริยธรรมแห่งวฒุ ิสภาประเทศไทย
ดร.อบัดุลมคัติ
  เลขาธิการใหญ่คณะกรรมการกลางมูฮมั มาดิยาห์ (องคก์ รมุสลิมสมยั ใหม่ที่เก่าที่สุดของอินโดนีเซีย)
ฯพณฯท่านผปู้ กครองสังฆมณฑลนครนิโฟน
  ผแู้ ทนแห่งพระอคั รสังฆบิดรแห่งแอนติอ็อกในมอสโคว,์ ประเทศเลบานอน
ท่านโคชิน โอตานิ ผนู้ ่าเคารพ
  หวัหนา้นิกายโจโดชินชูฮองวานจิ-ฮา(นิกายดินแดนบริสุทธ์ิ)ประเทศญี่ปุ่น
แรบไบ ดร. เจเรมี โรเซน
  อดีตอาจารยใ์ หญ่วทิ ยาลยั คาร์เมล, ออกซ์ฟอร์ด, สหราชอาณาจกั ร
ศาสตราจารย์ อามิน ไซคาล
  ศาสตราจารย์ด้านรัฐศาสตร์ ผูอ้ านวยการศูนยอ์ าหรับและอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยแห่งชาติ ออสเตรเลีย, ออสเตรเลีย
ดร. สตีเฟน ชเลนซอก
  เลขาธิการ, มูลนิธิจริยธรรมสากล, เยอรมนี
ท่านศรี ศรี ระวี แชงการ์
  มูลนิธิ ศิลปะของการใชช้ ีวติ , อินเดีย
ดร. อารีฟ แซมฮารี
  เจา้ หนา้ ที่อาวโุ สขบวนการนะห์ดาตุล อูลามา (องคก์ รมุสลิมขนาดใหญ่สุดของโลก), อินโดนีเซีย
ดร.พอลเอม็ ซูเลห์เนอร์
  ประธานเทววทิยาอภิบาลกรุงเวยีนนา,ออสเตรีย

ผ้สู ังเกตการณ์
คุณคลอเดีย แบนดิออน-ออร์ทเนอร์
  รองเลขาธิการ ศูนยก์ ารเสวนาระหวา่ งศาสนาและวฒั นธรรมนานาชาติคิงอบั ดุลลาห์, ออสเตรีย
ไฟซาล เอ บิน มูอมั มาร์
  เลขาธิการศูนยก์ารเสวนาระหวา่งศาสนาและวฒันธรรมนานาชาติคิงอบัดุลลาห์,ซาอุดิอาระเบีย
ไซเคน ซูกิอุระ
  อดีตรัฐมนตรีกระทรวงยตุ ิธรรมประเทศญี่ปุ่น 

สภาปฏิสัมพนั ธ์ขอแสดงความขอบคุณต่อการสนับสนุนของรัฐบาลออสเตรีย ญี่ปุ่น ราชอาณาจักร ซาอุดิอาระเบีย นายกเทศมนตรีและผวู้ า่ การกรุงเวยี นนา 


THAILAND Ver.