มื่อคร้ังที่ ทาเคโอะ ฟูกุดะ อดีตนายกรัฐมนตรีญ่ีปุ่นและผูก้ ่อต้งั สภาปฏิสัมพนั ธ์ (InterAction Council) หารือกบั ผมเกี่ยวกบั ความคิดในการก่อต้งั องคก์ รที่รวมเอาอดีตผนู้ าของรัฐและรัฐบาล เพื่อร่วมกนั พิจารณา ปัญหาของโลกในระยะยาวช่วงตน้ ทศวรรษ 80 น้นั ผมตอบรับโดยไม่ลงั เลเลย นบั จากน้นั เราก็เป็นเพื่อน สนิทจากการสนทนาและการเจรจาระหวา่ งการดารงตาแหน่งในรัฐบาลของเรา และผมรู้ว่าเรามีทศั นะและ ความกงั วลเก่ียวกบั โลกร่วมกนั สภาปฏิสัมพนั ธ์ ถูกก่อต้งั ข้ึนในปี 1983 และตลอดช่วงสามทศวรรษท่ีผา่ นมา มีอดีตผนู้ าประมาณ 30 ท่านเขา้ ร่วมประชุมในนครหลวงและเมืองต่างๆในหา้ ทวีป เพื่อหารือในประเด็นทาง การเมือง/ภมู ิศาสตร์การเมือง, เศรษฐกิจ/การเงิน และสิ่งแวดลอ้ ม/การพฒั นาของโลกในระยะยาว
  แต่ทาเคโอะฟกู ดุ ะยงั ไม่พอใจกบั การร่วมพจิ ารณาเฉพาะผนู้ าทางการเมืองฝ่ายเดียวเขาตอ้ งการให้ เกิดการเสวนาระหวา่ งผนู้ าทางศาสนาและผนู้ าทางการเมือง เพราะเขาตระหนกั วา่ ปัญหาของโลกส่วนใหญ่ เกิดจากมนุษย์เขารู้สึกว่าผูน้ าทางการเมืองตอ้ งเรียนรู้จากผูน้ าทางศาสนาซ่ึงเป็นผูแ้ ทนของภูมิปัญญาและ ประเพณีเก่าแก่นบั พนั ปี ผมคิดวา่ เป็นเรื่องปกติสาหรับเขาเพราะการสื่อสาร“จากใจถึงใจ”คือสาระสาคญั แห่งความเชื่อทางการเมืองของเขาความจริงใจความซื่อสัตย์ความเขา้ใจขนั ติธรรมและการยอมรับของผทู้ ี่ เขาเก่ียวขอ้ งดว้ ย ไม่วา่ จะเป็นเร่ืองทางการหรือส่วนตวั ลว้ นมีความหมายต่อเขาท้งั สิ้น ดูแลว้ อาจเหมือนเป็น ความใสซื่อทางการเมือง แต่นี่คือสิ่งท่ีเขาปรารถนาจะสร้างไวเ้ พื่อทาให้โลกน้ีมีความยุติธรรมและมี สันติภาพมากข้ึน 

  การประชุมเพ่อื การศาสนเสวนา คร้ังแรกระหวา่ งผนู้ าทางศาสนาและการมือง มีข้ึนที่ ซิวิลตา้ คาธอ ลิกาในกรุงโรม ประเทศอิตาลี ปี 1987 มีผู้นาจากศาสนาพุทธ คาธอลิก ฮินดู อิสลาม ยูดาย และ โ ป ร เ ต ส แ ต น ต ์ แ ม แ้ ต ่ พ ว ก อ เ ท ว น ิ ย ม ( ผ ทู ้ ี ่ ไ ม ่ เ ช ื ่ อ ว า่ ม ี พ ร ะ เ จ า้ ) ใ น ฟ า ก ฝ ั ง ศ า ส น า แ ล ะ ผ นู ้ า ซ ่ ึ ง เ ป ็ น ต วั แ ท น ก ล ุ ่ ม อนุรักษ์นิยม สังคมนิยมประชาธิปไตย เสรีนิยม คอมมิวนิสต์ เผด็จการ และ ประชาธิปไตยจากฝังการเมือง มารวมตวั กนั ที่นนัเป็นครังแรกในประวตั ิศาสตร์ 
  มนั คือจุดสูงสุดของช่วงสงครามเยน็ และความขดั แยง้ เกี่ยวกบั ศาสนายงั มีอยอู่ ยา่ งจากดั ทุกฝ่ายเห็น พอ้ งวา่ มนุษยชาติอยใู่ นสถานการณ์ที่ยากจะคาดหวงั ถึงอนาคตได้เวน้ แต่ไดม้ ีการแกไ้ ขประเด็นที่เป็นความ ทา้ ทายในระยะยาวอยา่ งยุติธรรม และเป็นสิ่งสาคญั ท่ีผนู้ าการเมืองและผนู้ าศาสนาตอ้ งร่วมมือกนั แสวงหา วิธีแก้ไขท่ีเป็นไปได้ ท่ีประชุมมีความเห็นเป็นเอกฉันท์แมแ้ ต่เรื่องการวางแผนครอบครัว ซ่ึงสร้างความ ประหลาดใจแก่ผมอย่างมาก สภาปฏิสัมพนั ธ์จดั ศาสนเสวนามาแลว้ กว่า 10 คร้ัง ภายใตก้ ารแนะนาของ ศาสตราจารย์ ฮนั ส์ คุง อดีตศาสตราจารยแ์ ห่งมหาวทิ ยาลยั ทูบิงเงนและผกู้ ่อต้งั มูลนิธิจริยธรรมสากล และทา ใหม้ ีการริเริ่มแบบเดียวกนั น้ีเกิดข้ึนทวั่ โลกนบั แต่น้นั เป็นตน้ มา 
  มนั คือจุดสูงสุดของช่วงสงครามเยน็ และความขดั แยง้ เกี่ยวกบั ศาสนายงั มีอยอู่ ยา่ งจากดั ทุกฝ่ายเห็น พอ้ งวา่ มนุษยชาติอยใู่ นสถานการณ์ที่ยากจะคาดหวงั ถึงอนาคตได้เวน้ แต่ไดม้ ีการแกไ้ ขประเด็นที่เป็นความ ทา้ ทายในระยะยาวอยา่ งยุติธรรม และเป็นสิ่งสาคญั ท่ีผนู้ าการเมืองและผนู้ าศาสนาตอ้ งร่วมมือกนั แสวงหา วิธีแก้ไขท่ีเป็นไปได้ ท่ีประชุมมีความเห็นเป็นเอกฉันท์แมแ้ ต่เรื่องการวางแผนครอบครัว ซ่ึงสร้างความ ประหลาดใจแก่ผมอย่างมาก สภาปฏิสัมพนั ธ์จดั ศาสนเสวนามาแลว้ กว่า 10 คร้ัง ภายใตก้ ารแนะนาของ ศาสตราจารย์ ฮนั ส์ คุง อดีตศาสตราจารยแ์ ห่งมหาวทิ ยาลยั ทูบิงเงนและผกู้ ่อต้งั มูลนิธิจริยธรรมสากล และทา ใหม้ ีการริเริ่มแบบเดียวกนั น้ีเกิดข้ึนทวั่ โลกนบั แต่น้นั เป็นตน้ มา 
 
ประเดน็ ปัญหาในระยะยาวเรื่องหน่ึงท่ีติดตรึงอยใู่ นใจของ ทาเคโอะ ฟูกุดะ และตวั ผมเองดว้ ยคือการเพิ่มข้ึน ของประชากรและทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยอู่ ยา่ งจากดั ในปี 1900 มีมนุษยอ์ ยบู่ นโลกใบน้ีเพียง 1.6 พนั ลา้ น คน และเพิ่มข้ึนถึงสี่เท่าในช่วงศตวรรษที่ 20 และปัจจุบนั เรามีประชากรโลกกว่า 7 พนั ลา้ นคน จานวน ประชากรที่เพิ่มข้ึนสี่เท่าในเวลาเพียงหน่ึงศตวรรษไม่เคยเกิดข้ึนมาก่อนในประวตั ิศาสตร์ของมนุษย์และมี การพยากรณ์วา่ ยอดจะทะลุกวา่ 9 พนั ลา้ นคนก่อนที่จานวนประชากรจะเริ่มคงท่ีราวกลางศตวรรษที่ 21 โดย คนส่วนใหญ่ถูกบงั คบั ใหต้ อ้ งอาศยั อยเู่ ฉพาะในเขตเมือง 
 
ขนาดและความถี่ของการเกิดภยั พิบตั ิทางธรรมชาติซ่ึงไม่เคยเกิดข้ึนมาก่อนในศตวรรษที่ 21 อาจ เป็นการสาแดงใหเ้ ห็นถึงปัญหา คาถามสาคญั ก็คือ โลกใบน้ีสามารถรองรับคนถึง 9 พนั ลา้ นคนไดจ้ ริงหรือ? ในโลกท่ีคนหลายพนั ลา้ นจะไม่ไดร้ ับสิ่งจาเป็นข้นั พ้ืนฐานของชีวิต คือ อาหารและน้า แลว้ เรายงั จะฝันถึง สังคมท่ีมีความยุติธรรมและสันติสุขมากข้ึนไดอ้ ย่างไร? ในทศั นะของผมนี่คือคาถามท่ีลาลึกและตอ้ งใช้ ความพยายามอยา่งหนกั ซ่ึงตวัผมเองก็ยงัไม่มีคาตอบ 

  แมว้ า่ การประชุมที่กรุงเวยี นนาจะยงั ไม่สามารถหาคาตอบที่เป็นเอกฉนั ทช์ ดั เจนต่อคาถามขอ้ น้ี หรือ ท่ีจริงต่อคาถามอื่นๆอีกหลายขอ้ แต่ผมก็ไดย้ นิ เสียงสะทอ้ นของข่าวสารท่ีมีความสาคญั ยงิ่ จากผนู้ าศาสนา จะ มีก็แต่คนท่ียอมรับวา่ การปรับปรุงใหด้ ีข้ึนน้นั เกิดข้ึนไดด้ ว้ ยความรับผดิ ชอบและการต่อสู้อยา่ งไม่ยอ่ ทอ้ เพ่ือ โลกที่มีความยตุ ิธรรมและมีสันติภาพมากข้ึนเท่าน้นั จึงจะสามารถช่วยใหค้ นอื่นดีข้ึนได้ และดว้ ยการยดึ มนั่ ต่อหลกั จริยธรรมสากลท่ีมีอยรู่ ่วมกนั ในศาสนาสาคญั ทุกศาสนา เราจึงจะสามารถขยบั เขา้ ใกลเ้ ป้ าหมายของ เราแบบทีละเล็กละนอ้ ยไดท้ ุกวนั 
  ข่าวสารดงั กล่าวเตือนให้ผมนึกถึงถอ้ ยคาของ คาร์ล ป็อบเปอร์ ซ่ึงถือกาเนิดในกรุงเวียนนา และได้ กล่าวไวใ้นหนงัสือ“อตัชีวประวตัิทางสติปัญญา”(IntellectualBiography)วา่“ผลิตผลของเราเริ่มเป็นอิสระ จากผผู้ ลิตเป็นส่วนใหญ่ เช่นเดียวกบั ลูกๆของเรา ทฤษฎีของเรา และถึงท่ีสุดก็คือกบั งานทุกอย่างที่เราทา” เราอาจไดร้ ับความรู้จากลูกของเราหรือทฤษฎีของเรามากกวา่ ที่เราเคยสั่งสอนพวกเขาก็เป็นได้ น่ีคือวิธีที่เรา จะสามารถพาตวั เราออกจากปลกั ตมแห่งอวชิ ชาของเรา 


ธนัวาคมปี2014
เฮลมุท ชมิดท์
ฮมับูร์ก,เยอรมนี 


THAILAND Ver.